NHKラジオ日本×通訳トレ

 先月の下旬から半月ほど台湾に旅行に行ってきた。

 台湾の旅行では、翻訳・通訳業を営む者として、いろいろと気付くことや考えさせられることがあったのだが、それはひとまず置いといて、通訳のトレーニング。
 今回から、これまでのサイトラではなく、書き取ったタイ語ニュースの内容の要点を日本語で箇条書きにするというやり方に変えることにした。というのもこれはあくまで「通訳」のトレーニングの一環だからである。つまり、実際の通訳の仕事では、話し手のタイ語を一字一句聞き漏らさず聞くことが目的ではなく、話し手がタイ語で話した内容(つまり、相手がいわんとすること)を理解し、それをできるだけ過不足なく日本語で聞き手に伝えることが目的なので、日本語の文章を書くことではなく、(なるべく時間をかけずに)日本語「で」要点を書くことが肝心なのである。

 ただ、私はベースが翻訳者なので、どうしても「翻訳」しようとしてしまう。今回の要点も、中身は結局これまでのサイトラと大して変わっていないし、言葉によってはネットで調べ物までしてしまっている。例えば、「ニッセイ基礎研究所」などはタイ語を読んだだけでは、この研究所を知らない限りこんな訳語がすぐに頭に浮かぶはずはなく(私はひとまず「日本生命研究所」としておいてからネットで検索して調べた)、そのあたりがやはり「翻訳者」なのだ。ただ、これはあくまで通訳のトレーニングなので、これからはもっとザクッと訳していくよう心がける必要がある。


6月9日分の音声: Download
(注:上記音声は1週間後ぐらいにはダウンロードできなくなります)


(5:52〜7:02)
คุณผู้ฟังยังอยู่กับเรดิโอเจแปนกระจายเสียงจากกรุงโตเกียวประเทศญี่ปุ่นค่ะ
ข่าวต่อไปค่ะ
ญี่ปุ่นได้ทบทวนปรับอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจสำหรับไตรมาสระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมในปีนี้ขึ้นเล็กน้อย
โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีที่แท้จิรงรายปี
อยู่ที่ติดลบร้อยละ 3.5 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 จุดจากตัวเลขเบื้องต้นเมื่อเดือนพฤษภาคม
สำนักคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นได้ประกาษในวันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายนว่า
จีดีพีลดลงร้อยละ 0.9 ในไตรมาสจนถึงเดือนมีนาคมเมื่อเทียบกับช่วงไตรมาสก่อนหน้า
โดยเป็นการเติบโตติดลบเป็นไตรมาสที่ 2 ติดต่อกัน
สำหรับจีดีพีรายปีนั้นอยู่ที่ติดลบร้อยละ 3.5
ได้รับการทบทวนปรับขึ้นจากตัวเลขเบื้องต้นที่ติดลบร้อยละ 3.7
การทบทวนนี้เกิดขึ้นเนื่องจากสถิติล่าสุดแสดงให้เห็นว่า
สินค้าคงเหลือของภาคธุรกิจมีมากกว่าที่คาดการณ์ก่อนหน้านี้
สำนักคณะรัฐมนตรีระบุว่า
แม้จะมีการทบทวนปรับจีดีพีขึ้นเล็กน้อย
แต่ข้อมูลยืนยันถึงการลดลงอย่างมากในด้านการใช้จ่ายส่วนบุคคลและการลงทุนของภาคธุรกิจหลังเกิดภัยพิบัติ 11 มีนาคม
<要点>
‐今年1‐3月期の日本の経済成長率はわずかに上方修正。
‐具体的には、年間の実質GDPが3.5%減となり、5月時の1次速報から0.2ポイント上昇。
‐6月9日(木)に内閣府が発表:3月までの第1四半期のGDPは昨年の同四半期比で0.9%減。
‐2四半期続けてのマイナス成長。
‐年間GDPは3.5%減と、3.7%減だった1次速報から上方修正。
‐修正の理由は、民間企業の在庫が前回の予測より多かったため(最新の統計で判明)。
‐ただし、GDPはやや上方修正されたが、個人消費と民間企業の投資は3月11日の震災以降依然として大きく落ち込んでいる(内閣府の発表による)。


(7:03〜9:37)
และช่วงเจาะประเด็นวันนี้
คุณ Tsuyoshi Ueno นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสประจำสถาบันวิจัยประกันชีวิตนิปปอน
จะมาพูดให้ฟังถึงแนวน้อมของเศรษฐกิจญี่ปุ่นค่ะ
คุณ Ueno บอกว่า
ภัยพิบัติทางตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นเมื่อเดือนมีนาคม
ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อเศรษฐกิจของประเทศ
แต่ญี่ปุ่นได้ผ่านจุดเลวร้ายที่สุดมาแล้ว
คุณ Ueno เชื่อว่าเศรษฐกิจญี่ปุ่นจะฟื้นตัวกลับขึ้นมาค่ะ
อย่างไรก็ตามการผลิตของภาคธุรกิจจะฟื้นตัวได้อย่างจำกัดจนถึงช่วงรฤร้อนในอีกไม่นาน
เนื่องจากการปรับโครงสร้างของเครือข่ายการป้อนชิ้นส่วนอะไหล่ที่ไม่เพียงพอ
และจากความพยายามประหยัดไฟฟ้าหลังเกิดอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ในจังหวัดฟุกุชิมา
แต่หลังรฤร้อนคาดว่าเศรษฐกิจจะเข้ารูปเข้ารอยการฟื้นตัวอย่างเต็มที่
เนื่องจากการฟื้นฟูพื้นที่ต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ
น่าจะกระตุ้นให้เกิดความต้องการในตลาด
และเพื่อให้เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างเต็มที่
จำเป็นต้องดำเนินมาตรการเพื่อกระตุ้นให้บริษัทและผู้บริโภคเชื่อว่า
ญี่ปุ่นจะสามารถทำให้เศรษฐกิจเติบโตได้สำเร็จ
มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดลดภาษีที่เรียกเก็บจากบริษัทเพื่อจูงใจให้บริษัทดำเนินธุรกิจต่อไปและการทำให้การจ่ายไฟฟ้ามีความมั่นคงเพื่อให้แน่ใจว่าการผลิตจะดำเนินไปได้อย่างราบรื่น
สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การผ่อนคลายกฎข้อบังคับต่างๆ เพื่อให้บริษัทสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในภาคธุรกิจที่มีอนาคต
ซึ่งโดยหลักๆ แล้ว ก็คือ บริการจัดเตรียมสิ่งต่างๆ ให้กับผู้สูงอายุ
อย่างเช่น เวชภัณฑ์และบิรการพยาบาลดูแล
เรื่องที่น่ากังวลอย่างมาก ก็คือ เงินเยนที่แข็งค่าค่ะ
เศรษฐกิจสหรัฐกำลังแสดงสัญญาณความอ่อนแอหลายอย่างออกมา
เช่น ตลาดงานที่ซบเซาเรื้อรังและการร่วงลงของราคาที่พักอาศัย
เรื่องนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้มีแรงเทขายเงินดอลลาร์สหรัฐและกว้างซื้อเงินเยน
ขณะที่เงินยูโรอาจร่วงลง
หากชาติต่างๆ ที่ใช้เงินสกุลนี้ไม่สามารถหามาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อรับมือวิกฤติการเงินของประเทศกรีซได้
เงินดอลลาร์ เงินยูโรและเงินเยนล้วนเป็นเงินตราต่างประเทศสกุลหลัก
หากดอลลาร์และยูโรอ่อนแอ
คนในตลาดเงินก็จะถูกทำให้ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากจะต้องกว้างซื้อเงินเยน
และเงินเยนก็จะยิ่งแข็งค่าขึ้นอีก
ดังนั้นสิ่งที่ต้องระวัง คือ เงินเยนที่แข็งค่าอาจฉุดเศรษฐกิจญี่ปุ่นให้ย่ำแย่ลงอีก
ถึงแม้การผลิคของภาคธุรกิจจะฟื้นตัวขึ้นมาหลังช่วงรฤร้อนนี้ก็ตาม
และทั้งหมดนี้คือช่วงเจาะประเด็นวันนี้ค่ะ
<「核心に迫る」の要点>
ニッセイ基礎研究所のシニアエコノミスト、上野剛志氏による日本経済の先行きについて。
‐3月に起きた東北大震災により日本経済は大きな打撃を受けたが、日本は最悪の時期は脱している。
‐とは言え、民間企業の生産の回復はこの夏までは限定的なものになるだろう。
‐供給が不足している部品供給ネットワークの立て直しと福島県での原発事故発生以降の節電への取り組みがその原因。
‐それでも、夏以降に経済は完全に回復の軌道に乗るだろう。
‐震災で打撃を受けた地域が回復することで市場に需要がもたらされるだろうというのがその根拠。
‐経済を完全に回復させるには、日本には経済を成長させる力があると企業や消費者に思わせられるだけの対策が必要。
‐今後の企業活動の促進を目的とした企業減税や、生産活動への支障の不安を払拭してもらうための電力供給の安定化もこうした対策のひとつ。
‐将来性のある事業に企業が参入できるよう各種の規制を緩和することも重要。
‐主として、高齢者向けの医療器具や介護を提供するサービス。
‐特に懸念される問題は円高
アメリカ経済には、雇用市場の慢性的な停滞や住宅地価格の下落など様々な面で弱体化の兆しが見られつつある。
‐これが原因で、ドル売り、円買いが進む。
‐その一方で、ユーロを通過とする国々がギリシャ金融危機に有効な手立てを打てないとなると、ユーロ安となる恐れもある。
‐ドルとユーロ、円はどれも基軸通貨であり、仮にドルとユーロの力が弱まれば、金融市場では円を買わざるを得なくなり、さらなる円高となる。
‐したがって、注意しなければならないのは、民間企業の生産が夏以降に回復したとしても、円高により日本経済がさらに後退することである。